Support
travelchoicetv.com
Your shopping cart
ดูตะกร้าสินค้าของคุณ
ไม่มีสินค้าในตะกร้าของคุณ
info@twoplusone.asia | 2013-06-17 10:39:39.0 | Hits  7160
เยียรบับ ผ้าที่มาจากต่างประเทศมีอิทธิพลต่อการเรียกชื่อเสื้อผ้าที่ใช้แต่งกายของคนไทย ในสมัยอยุธยามีชาวต่างประเทศเข้ามากันมาก เข้าใจว่าแบบเสื้อของชาวฝรั่งเศส ชาวโปรตุเกส และก็น่าจะนำมาใช้เป็นแบบกันบ้าง เสื้อที่ใช้เป็นเครื่องแบบและใช้ในงานพระราชพิธี ในสมัยโบราณตามที่ปรากฏในหนังสือวรรณคดีและตำราราชการต่างๆ มีกล่าวถึงและเรียกชื่อตามชนิดของผ้า เช่น เสื้ออัตลัด เสื้อปัศตู เสื้อมัสรู่ เสื้อเยียรบับ ชื่อต่างๆ เหล่านี้ บางชื่อเรียกตามชื่อเมืองและเรียกตามลายหรือชนิดของผ้านั้นๆ เยียรบับ คือผ้าที่ทอควบกับเส้...
info@twoplusone.asia | 2013-06-17 09:58:42.0 | Hits  2379
อับเฉา อับเฉา คำนี้มักได้ยินบ่อยๆ เมื่อมัคคุเทศก์อธิบายถึง ตุ๊กตาหินที่ประดับอยู่ตามลานวัดต่างๆ ซึ่งที่มาของคำเรียกขานนี้ก็เนื่องจากการค้าทางสำเภาจากไทยไปเมืองจีนนั้น สินค้าที่บรรทุกไปขายเต็มลำเรือ ส่วนใหญ่มักเป็นข้าวสาร หนังสัตว์ เขาสัตว์ ตะกั่ว ดีบุก ดินประสิว ไม้หอมชนิดต่างๆ รวมไปถึงไม้สัก ไม้แดง ที่มีน้ำหนักมาก ในตอนขากลับนั้น เมื่อจำหน่ายสินค้าหมดก็บรรทุกข้าวของจากเมืองจีนกลับมาขาย ส่วนใหญ่ก็จะเป็นเครื่องเหล็ก เครื่องทองเหลือง เครื่องเรือน ใบชา ถ้วยชาม และผ้าแพรพรรณชนิดต่างๆ ซึ่งมีน้ำหนักเบ...
amrapornb@hotmail.com | 2013-05-30 17:18:07.0 | Hits  4048
โทวาริก หรือ ทวารบาล ใครที่เข้าวัดเข้าวาบ่อยๆ คงจะเคยเห็นตุ๊กตาหิน หรือยักษ์ที่ยืนอยู่สองข้างประตู ภาพวาดหรือภาพแกะสลักบนบานประตู ศิลปกรรมทั้งหมดที่กล่าวมานี้เรียกว่า “โทวาริกหรือทวารบาล”(ทะ-วาน-ระ-บาน) ทวารบาล มาจากคำ 2 คำคือ “ทวาร” หรือประตู กับ “อภิบาล” หรือดูแลรักษา,ปกครอง เมื่อรวมกันแล้ว จึงมีความหมายว่า “ผู้เฝ้ารักษาประตู” โทวาริกหรือทวารบาลในเมืองไทยนั้น สันนิษฐานว่ามีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย โดยตอนแรกๆยังคงมีอิทธิพลของจีนอยู่ ทวารบาลแบบจีนที่ไท...
info@twoplusone.asia | 2013-05-30 11:04:19.0 | Hits  3682
คันทวย ความงดงามขององค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมไทย อีกลักษณะหนึ่งที่เรียกว่า “คันทวย” ซึ่งเป็นส่วนที่ยึดติดกับเสาหรือผนัง ทำหน้าที่รับน้ำหนักของปีกชายคาที่ยื่นเลยจากแนวผนังอาคารก่อนถ่ายน้ำหนักลงเสาหรือผนัง นิยมแกะสลักด้วยไม้หรือหล่อปูนให้อ่อนช้อยเป็นรูปนาค และจะใช้เรียกเฉพาะกับอาคารชั้นสูง หรือศาสนสถาน แต่ถ้าใช้กับที่อยู่อาศัยสามัญจะเรียกว่า“ค้ำยัน” หรือ “ท้าวแขน” คำว่า คันทวย นี้ อธิบายง่ายๆ ก็คือ ไม้ค้ำยันชายคานั่นเอง แต่มักเรียกเฉพาะที่ใช้ค้ำยันโบสถ์หรือวิหาร น...
info@twoplusone.asia | 2013-05-27 11:15:19.0 | Hits  2592
ผ้ากาสาวพัสตร์ ผ้ากาสาวพัสตร์ (กา-สา-วะ-พัด) เป็นคำที่ใช้เรียกเครื่องนุ่งห่มของพระภิกษุสงฆ์ หมายถึงผ้านุ่งห่มของพระภิกษุสงฆ์ในพระพุทธศาสนา ประกอบด้วยผ้า 3 ผืนหลัก ได้แก่ สบง จีวร และสังฆาฏิ เรียกในความหมายโดยรวมว่า จีวร ในสมัยพุทธกาลไม่ได้กำหนดชัดเจนว่าจีวรของพระเป็นสีอย่างไร แต่สันนิษฐานว่าเป็นผ้าย้อมฝาด น้ำฝาดมาจากวัสดุธรรมชาติ ผ้าที่ย้อมฝาดจะมีสีเหลืองหม่นหรือสีน้ำตาลอมแดงที่เรียกว่า สีกรัก และเป็นสีที่ดูเคร่งขรึมเหมาะสำหรับเป็นผ้านุ่งห่มของพระสมณะ พระภิกษุครั้งพุทธกาลจะต้องหาผ้ามาทำจีวรและต้...
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6